
1. อย่านำเงินสำรอง ฉุ ก เ ฉิ น ออกมาใช้โดยไม่จำเป็น
6 เท่า ของรายจ่าย รายเดือนคือ เงินสำรอง ฉุ ก เฉิ น ขั้นต่ำที่กำหนดไว้ตามหลักการ
วางแผนการเงินส่วนบุคคล วัตถุประสงค์หลัก คือเป็นเงินที่จะสามารถนำมาเยีย วย า
เรื่องฉุกเฉิ นต่างๆ ที่เกิดขึ้น ในชีวิตไม่ว่าจะเป็นตกงาน ประสบอุบั ติเ หตุ ธุรกิจประสบปัญหา ฯลฯ
บางคนไม่ได้มีปัญห าเรื่องการเงินหรือธุรกิจ แต่นำเงินส่วนนี้มาใช้เมื่อถึงคราวเกิดปัญหาจริงๆ
ก็ไม่เหลือเงินสำรองไว้ใช้
2. อย่าค้ำประกั น ให้ใครเป็นอันขาด
ข้อนี้อย่าว่าแต่ในย ามเศรษฐกิจไม่ดีเลย บางคนตั้งปณิธานไว้จะรักกันแค่ไหนก็จะไม่ค้ำประกั น
ให้ใครเด็ดข าดหลายคน ต้องเจอบทเรียน ชีวิตสะดุดจากการค้ำประกั นให้ผู้อื่นเข้าข่ าย
“ เนื้ อไม่ได้กินหนังไม่ได้รองนั่ง แต่เอากระ ดู ก มาแข ว น คอ” เพราะการค้ำประกั นคือการสัญญาว่า
บุคคลหนึ่งจะชดใช้หนี้แทนลูกหนี้หากลูกหนี้ไม่ยอมชำร ะหนี้หรือไม่สามารถ ชำ ร ะ หนี้ได้
3. หลีกเลี่ ย ง การสร้างหนี้ใหม่
อะไรที่เหนือ ความจำเป็น พักไว้ก่อนเถอะค่ะ ไม่ว่าคุณจะวางแผนเปลี่ยน รถคันใหม่ให้ใหญ่กว่าเดิม
หรือซื้ อบ้ านหลัง ที่สองไว้ตากอากาศเพราะตอนเศรษฐกิจอ่อนแอแบบนี้อะไรก็สามารถเกิดขึ้นได้
ถนอมเ นื้ อ ถนอมตัว อย่าเพิ่งสร้างหนี้ใหม่ให้เป็นภาระเลย จะได้ไม่ต้องใช้ชีวิตแบบห่วงหน้าพะวงหลัง
4. อย่าลงทุ น หวือหวา หวังรวยเร็วโดยไม่มีความรู้
คนที่ตั้งหน้าตั้งตาจะหาเงินให้ได้ เป็นกอบเป็นกำ โดยนำความโลภเป็นที่ตั้ง อาจนำพาตัวเองไปล ง ทุ น
ในช่องทางที่หวือหวาโดยไม่มีความรู้ เช่น พวกหุ้นปั่นทั้งหลายช่องทางการล ง ทุ น ที่ไม่ชอบมาพากล
เช่น พวก แ ช ร์ ลู ก โ ซ่ หรือการหลอกให้นำเงินไปลงทุ น ในสินทรัพย์ต่างๆ ที่อาจไม่มีอยู่จริง
โดยมีผลตอบแทนสูงเย้า ย ว น ใจไม่มีอะไรที่ได้มาง่ายๆ และเป็นกอบเป็นกำ ในระยะเวลาอันรวดเร็วหรอกค่ะ
ที่สำคัญอย่าล ง ทุ น ในสิ่งที่ตนเองไม่มีความรู้เป็นที่ดีที่สุด
5. พักไว้ก่อนหากคิดจะลงทุ น เพิ่ม
ในย าม เศรษฐกิจไม่ดี แน่นอนว่า การค้าขายหรือ ผลกำไรย่อมลดลงผู้ประกอบการทั้งหลายต่างคิดหาหนทาง
ที่จะเพิ่มรายได้ให้มากขึ้นเพื่อดึงยอดขายและกำไรกลับมา หนึ่งในวิธีการเพิ่มกำไรคือการล ง ทุ น
เพิ่มจะเป็นการเปิด สาขาใหม่เพื่อเพิ่มยอดขาย หรืออย่างอื่นที่ต้องใช้เงินจำนวนมาก ตรงนี้ขอบอกว่า พักไว้ก่อนดีกว่า
ขอขอบคุณ t h a i s m e s c e n t e r