Home ข้อคิด 6 แนวทางบริหารเงิน ต้องทำอย่างไรให้มีใช้ “ไม่ขาดมือ”

6 แนวทางบริหารเงิน ต้องทำอย่างไรให้มีใช้ “ไม่ขาดมือ”

6 second read
0
0
71

1. สร้างรายได้หลักให้มั่นคงได้ก่อน

ก่อนที่เราจะหมุนเงินได้จะมีอยู่แค่ 3 อย่าง รายได้หลัก ค่าใช้จ่าย เงินลงทุน เพราะ 3 ตัวนี้ละตัวหลักในการหมุนเงิน

สิ่งแรกเลยเนี่ย คือรายได้หลัก เป็นหัวใจหลักที่ต้องมีแน่นอน เพื่อเป็นหลักประกันเลยว่าเมื่อไหร่ฉุกเฉินตัวนี้ละที่จะช่วยคุณ

2. มีวินัยและความอดทนสำคัญกว่าหาเงินให้ทันใช้

เนื่องจากโดยส่วนตัวแล้ว นั้นทำหลายอาชีพหลายอย่าง ทั้งงานประจำ รับงาน Consult เป็นนักเขียน และงานวิทยากรอื่นๆ

ดังนั้นรายได้ที่เข้ามามากน้อยต่างกันไป อาจจะต้องมีการปรับการใช้จ่าย ปรับวิธีการออมต่างๆ ให้เหมาะสมอยู่ตลอดเวลา

3. มองหาช่องทางการลงทุน

การลงทุนมีหลายรูปแบบมาก ไม่ว่าจะเป็นการออมเงินหรือการนำเงินไปต่อยอด ถึงอย่างไรก็คือการลงทุน เพื่อให้เงินงอกเงยจากเดิม

แต่สิ่งที่ต้องระวังคือ คำนวณเรื่องการลงทุน ให้ดีเงินที่เรานำมาลงทุนนั้น จะต้องน้อยกว่า เงินเย็นที่คุณกันไว้เมื่อยามฉุกเฉินไม่ต่ำกว่า 2 เท่า

ยกตัวอย่างเช่น รายได้หลักของคุณ ได้เดือนละ 30,000 บาท ถ้าหากค่าใช้จ่าย ทั้งหมดต่อเดือน 15,000 บาทคุณจะเหลือเงิน 15,000 บาท

หลักการลงทุนจะดึงเงิน 1 ส่วนออกมาจากเงินออม เพื่อนำมาลงทุน คุณจะเหลือเงินออม 10,000 บาทและนำเงิน 5,000 บาทมาลงทุนต่อ

4. ตื่นรู้เสมอ

เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ เริ่มจากตัวเองเสียก่อน วันนี้คุณมีเงินใช้ข้างหน้า คุณอาจจะไม่มีเงิน เมื่อไหร่ที่คุณรู้ตัวเองเสมอความคิดของคุณมันจะเดินหน้าต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง

คุณจะพัฒนาตัวเองไปเรื่อยๆพร้อมหาช่องทางสร้างรายได้วางตัวเป็นกลางเปิดรับสิ่งใหม่ๆ ตัวนี้จะเป็นตัวต่อยอดชีวิตของคุณได้เป็นอย่างดี

คุณสามารถนำหลักการพาเรโตมาใช้ในการบริหารชีวิตและเวลาของคุณได้ด้วยการนำกฏ 80/20 ยกตัวอย่างเช่น หากทำบัญชีรายจ่ายส่วนตัวของจะพบว่ารายจ่ายส่วนใหญ่ 80 %

จะอยู่ในกลุ่มรายการข้อรายจ่ายเพียง 20 % ของรายการทั้งหมด กลุ่มรายการเหล่านี้ ส่วนใหญ่จะเป็นรายการที่รับประทานไม่ได้หากรับประทานไปก็จะเป็นโทษต่อ ร่ า ง ก า ย

เช่น เครื่องดื่ม แ อ ล ก อ ฮ อ ล์,บุ ห รี่,ค่ามือถือคุยไร้สาระ ค่าเสื้อผ้าคนส่วนใหญ่หลงคิดไปว่าใช้เงินสำหรับซื้อความสุข

ดังนั้นหากควบคุมรายการรายจ่ายจำนวน 20 % นี้ได้ด้วยการชนะใจตนเองจะทำให้ลดรายจ่ายส่วนมากที่มีปริมาณถึง 80 %

เราควรให้ความสำคัญของการใช้เวลาในการทำงานประจำวันของเราว่าเวลา 80 %ที่คุณใช้ไป ให้คุณค่า หรือผลงาน 20 %ที่มีคุณภาพที่สุดออกมาหรือยัง

งานแต่ละอย่างอาจใช้เวลาเท่ากันในการทำให้สำเร็จแต่จะมีอยู่ 1 – 2 งาน เท่านั้น ที่จะให้คุณค่ามากเป็น 5 เท่า หรือ 10 เท่าของงานอื่น

หากคุณเป็นคนผลัดวันประกันพรุ่งในงาน 1-2 ชิ้นนั้นคุณก็จะกลายเป็นคนที่ยุ่งตลอดวัน โดยทำงานได้สำเร็จน้อยมาก คุณกำลังทำงานที่มีคุณค่าต่ำ

และผัดวันประกันพรุ่งในงานสำคัญอยู่หรือเปล่าใช่แล้ว…..งานสำคัญของคุณคือการสะสมทรัพย์ภายใน หาใช่ทรัพย์ภายนอก

5. รู้จักบริหารหนี้ที่มีอยู่ และไม่สร้างหนี้ใหม่อีกถ้าไม่จำเป็น

เมื่อเป็นหนี้ก่อภาระเข้าแล้ว สิ่งที่ควรจะทำก็คือจัดการกับหนี้ ที่ดอกเบี้ยแพงก่อน โดยเฉพาะกรณีได้เงินก้อนมา โปะอะไรก่อน?โปะบัตรเครดิตก่อน

ถัดลงมาก็ค่อยๆ ดูว่าหนี้ไหนดอกเบี้ยแพง ระยะเวลาผ่อนชำระสั้นสุด จ่ายก่อน แต่ทั้งนี้ ต้องจ่ายทุกๆ รายการหนี้ตามรอบเวลาชำระเอาเงินค่าบ้านไปหมุนค่ารถก่อนแล้วหยุดชำระค่าบ้าน

ระวังธนาคารจะเรียกเก็บอัตราสูงสุด แถมบางแห่งมีเบี้ยปรับมาอีกคำนวณความสำคัญของเงินและดอกเบี้ยเงินกู้ เงินผ่อนให้ดีเพื่อจะได้ไม่มีภาระต่อยอดไม่มีวันจบ

6. แนวทางสุดท้ายให้มีความเชื่อเรื่องแรงดึงดูดของชีวิต

เงินขาดมือเมื่อไหร่มักจะเอาในสิ่งที่พลาด แล้วมาตรอกย้ำให้คิดตลอด บอกเลยไม่มีประโยชน์ แถมยังให้คุณ เ ค รี ย ด ไปเปล่าๆเลิกบ่นเรื่องค่าใช้จ่ายไม่พอใช้เสียที

ก่อนอื่นควรจะเปลี่ยนแนวคิด ของตัวเองก่อนว่าเราไม่มีเงินพอใช้ เพราะเราอาจจะใช้เงินไม่เป็นและเราจะลดรายจ่ายอย่างไรให้มากที่สุด

เพราะยิ่งถ้าเราคิดว่าเราไม่พอใช้ก็ไม่มีวันที่เราจะมีเงินพอใช้ แต่ถ้ามองหาวิธีการลดรายจ่ายเราจะค้นหาเจอและเมื่อเรา ลดรายจ่ายได้ เราจะมีเงินเหลือเก็บได้แน่นอน เงินไม่มีวันขาดมือ

ขอขอบคุณ m o n e y h u b

Load More Related Articles
Load More By wansuk
Load More In ข้อคิด

Check Also

เจ้านาย 8 แบบนี้ ที่ไม่ควรเป็นหัวหน้าคน

1.เจ้านาย ทรงอำนาจ เจ้านายประเภทนี้ จะดีแต่ออกคำสั่ง มักแสดงพฤติกรรม การใช้อำนาจขณะทำงานหร…