Home ข้อคิด 7 ทัศนคติผิดๆ “เรื่องเงิน” คิดแบบนี้ไง..ถึงไม่มีเก็บสักที

7 ทัศนคติผิดๆ “เรื่องเงิน” คิดแบบนี้ไง..ถึงไม่มีเก็บสักที

14 second read
0
0
76

1. เงินซื้ อ ความสุขไม่ได้หรอก เอาอุดมการณ์ ไว้ก่อน

คนบางคนก็มีอุดมการณ์แรงกล้า คิดว่า ‘เงินไม่สามารถซื้ อ ความสุขได้’ ไม่จำเป็นต้องขยันขวนขวายอะไรมาก ยิ่งเงินเยอะก็จะมีเรื่องยุ่งย ากตามมา พอใจที่จะอยู่แบบฐานะย ากจน

บ้านเก่าหลังคารั่ว น้ำไฟติดๆ ดับๆ ก๊อกน้ำพัง มุ้งลวดขาด ( ที่คิดไปเอง ) ว่าอยู่อย่างนี้ก็มีความสุขแล้ว ไม่รู้ว่าถูกปลูกฝังหรือ เ ส พ สื่อแบบไหนมา แต่ความจริงคือ ความย ากจนไม่เคยเป็นความสุขค่ะ เป็นแค่วาท กรร ม หลอกตัวเองที่ไม่มีเงินเท่านั้น หากมีทุนทรัพย์ มีโอกาสเจอสิ่งที่ดีขึ้น

ย่อมจะทำให้ชีวิตสบายกว่าอย่างแน่นอนแม้เงินซื้ อ ความสุขทุกอย่างไม่ได้ แต่ซื้ อ สิ่งที่จะทำให้มีความสุขได้เกือบทุกอย่าง ขนาด ต าย แล้วยังต้องจ่ายเงินค่าทำ ศ พ เลย แล้วทำไมจะไม่ขยันหาเงินล่ะ? คนที่หาเงินได้เยอะๆ หรือนักธุรกิจจะมองว่า ‘เงิน’ เป็นตัวชี้วัด ความสำเร็จ ยิ่งทำเงินได้มากเท่าไหร่ ก็มีโอกาสที่จะมีชีวิตที่ดีขึ้น

ในขณะที่คนจนและ ล้ ม เ ห ล ว จะไม่กล้าขยับตัวทำนั่นนี่ เลยบางคนไม่พัฒนาทักษะตัวเอง จนสุดท้ายเด็กรุ่นใหม่ตามทันสกิลครบกว่าโดนเจ้านายไล่ออก กลายเป็นคนตกงาน ย ากจนกว่าเดิม

โดยสรุปคือ แม้เงินจะไม่ได้เสกความสุขให้ทุกคน แต่มันก็เป็นใบเบิกทางให้ทำตามความฝันต่างๆ หรืออย่างน้อยก็หล่อเลี้ยงชีวิตให้ยังมีข้าวกิน มีบ้านอยู่ ดังนั้นอย่ากลัวที่จะพัฒนาตัวเอง ดิ้นรนหาสิ่งที่ดีกว่า เพราะถ้ายังอยู่ในโลกทุนนิยม คุณหนีอำนาจของเงินไม่พ้นหรอกค่ะ

2. ไม่รู้ว่าตัวเองมี ‘มูลค่า’ เท่าไหร่ เล่นตัวไม่เป็นใครให้เงินเท่าไหร่เอาหมด

มีเด็กรุ่นใหม่มากมาย ที่ความสามารถเยอะเกินอายุ ครบเครื่องทั้ง Hard Skill และ Soft Skill แถมรอบรู้เรื่องโปรแกรมต่างๆ เต็มไปหมด จะโฟโต้ช้อป อิลลัส จัดหน้ากระดาษ ตัดต่อวิดีโอ เขียนบท หรือแม้แต่เป็นฝ่ายบัญชีก็ทำให้ได้ ซึ่งจะมีตลาดงานบางกลุ่ม ที่รับสมัครตำแหน่งเดียว

แต่ต้องทำทุกหน้าที่ที่กล่าวมาโดยให้เงินเดือนแค่ขั้นต่ำ (เผลอๆ ถูกกว่าขั้นต่ำด้วย) เด็กจบใหม่ก็รับทำ คิดว่าทำพอร์ตเก็บประสบการณ์ ทั้งที่จริงถ้าเรารู้จักเรียกค่าตัว เลือกลูกค้า เลือกตลาด เราจะไม่ถูกเอาเปรียบค่าจ้างตั้งแต่แรก น่าเสียดายที่มีคนไม่รู้ ยอมถูกกดเป็นทาสทั้งที่ไม่จำเป็นต้องทน แ ย่มาก โกรธแทนเลย

สกิลการพรีเซนต์คุณสมบัติของตัวเอง หรือการต่อรองเงินเดือนยังไม่ถูกบรรจุในหลักสูตรบังคับของมหาลัย สาวๆ ทุกคนที่ใกล้จะเรียนจบ จึงควรเรียนรู้สกิลนี้นอกห้องเรียนแต่เนิ่นๆ หรือจะเริ่มรับงานนอกตั้งแต่ช่วงเรียนก็ได้ จะได้รู้ว่าเรทงานขั้นต่ำในสายอาชีพที่ทำ ควรได้ตัวเลขประมาณเท่าไหร่โลกชีวิตจริงของการทำงานมันโห ด ร้ าย

ถ้าเรารู้ทัน เราก็ไม่โดนเอาเปรียบขอแค่ผลงานเราดีจริง มั่นใจในคุณค่าของงานเราเข้าไว้ ลูกค้าที่ให้ราคายุติธรรมจะมาจ้างงานเอง อย่าลดค่างานตัวเองจนไม่ต่างกับทำฟรี แม้จะบอกว่าทำพอร์ต ราคาก็ไม่ควรจ้างต่ำกว่าเรทมาตรฐานค่ะ

3. ไม่รู้จักคุณค่าของเงิน ไม่เก็บออมเงิน ไม่ทำรายรับรายจ่ายใดๆ

จะมีสาวๆ บางคนที่ชีวิตไม่เคยสัมผัสคำว่า ‘ย ากจน’ แบบไม่มีกินมีใช้จริงๆ มาก่อน ฐานะปานกลาง ไม่ได้เรียกว่าร่ำรวยแต่ก็มีเงินใช้ตลอด พวกนี้จะเสี่ ย งไม่มีเงินเก็บมากที่สุดเพราะคิดว่ายังไงก็ทำงานหาเงินได้เรื่อยๆ ใช้ไปเถอะ ไม่รู้จักคุณค่าของการออมเท่าไหร่ ไม่ต้องพูดถึงบัญชีรายรับรายจ่าย ไม่เคยทำจ้า!

สิ้นเดือนเงินใกล้หมดที ก็กินมาม่าที ต้นเดือนก็กลับไปกินชาบู บุฟเฟ่ต์ ช้อปเครื่องสำอางใหม่อีกรอบ วนลูป ไม่ได้เรียนรู้อะไรทั้งสิ้น แล้วแบบนี้เมื่อไหร่จะรวย คนไหนที่มีไลฟ์สไตล์การใช้เงินแบบนี้ ต้องเริ่มเก็บออมเงินได้แล้วนะคะ! ยิ่งในสถานการณ์โควิด ที่ไม่รู้จะยืดย าวออกไปถึงปีไหน

ถ้าคิดในแง่ร้ าย วันนึงบริษัทไล่เธอออกถ้าไม่มีเงินเก็บเลย จะเอาเงินที่ไหนใช้จ่าย? ลองปรับการใช้เงินให้รอบคอบกว่านี้ จดบัญชีรายรับรายจ่ายอย่างเคร่งครัด ว่ารายรับกับรายจ่ายหลักๆ ใช้ไปกับอะไร แล้วตัดอันที่ฟุ่มเฟือยทิ้ง ลดค่ากินหรู ของจุกจิก เสื้อผ้า นำเงินนั้นไปออมแทน

แล้วเธอจะพบว่า เอ้า เธอก็เก็บเงินได้หนิ! ถ้าเก็บได้ก้อนนึงแล้ว ก็สามารถเอาไปต่อยอดได้ เช่น ซื้ อ กองทุน ซื้ อ หุ้น ซื้ อ ห้องปล่อยเช่า เป็นต้น

4. ไม่ภูมิใจ ไม่มั่นใจในตัวเอง ไม่คิดว่าตัวเองจะหาเงินเยอะๆ ได้

ปัจจัยข้อนึงที่ทำให้สาวๆ หลายคนไม่มีเงินเก็บเท่าที่ควร เพราะ mindset ค่อนข้างคิดลบ ที่เห็นชัดสุดคือ ‘ขาดความมั่นใจในตัวเอง คิดว่าตัวเองเก่งไม่พอ’ ซึ่งกลายเป็นอุปสรรคของการออกจาก comfort zone ในวัยทำงาน หรือไม่กล้าเรียกร้องเงินเดือนเพิ่มกับหัวหน้า

กลัวเขาปฏิเสธตั้งแต่ยังไม่ได้เริ่มเลย ทำให้ต้องจมจ่อมอยู่กับที่เดิมๆ เงินเดือนน้อยๆ ทั้งที่เธอมีศักยภาพมากกว่านี้ น่าเสียดาย เรื่องนี้แก้ไขได้ง่ายที่สุด แต่ก็ใช้เวลานานที่สุด คือปรับ mindset ของตัวเองให้เป็นไปในทางบวกมากขึ้น รักและเคารพตัวเอง เห็นค่าตัวเองมากขึ้น

ฝึกความกล้าคุยกับคนอื่นกล้าเรียกเงินเดือนที่เหมาะสมกับตัวเอง เพราะเธอมี ดีมากพออย่าปล่อยให้คำพูดแ ย่ๆ ของคนอื่นทำเธอดิ่ง ท่องไว้ให้ขึ้นใจว่าเธอเก่งที่สุด!! นอกจากรายรับจะเพิ่มขึ้นแล้ว เธอยังได้เติบโตไปสู่วัยผู้ใหญ่อีกก้าวด้วยค่ะ

5. เชื่อว่าเงินคือผู้ร้ าย ที่ทำให้ครอบครัวบ้าน แ ต ก สาแหรกขาด

เรามักเห็นข่าวหนังสือพิมพ์ หรือชีวิตวัยเด็กของเธอเอง ที่ครอบครัวย ากจนที่พ่อแม่ต้องทำงานนอกบ้านทั้งวัน จนไม่มีเวลาเจอลูก เล่นกับลูกอย่างเต็มที่เลย สาวๆ บางคนจะคิดว่าเงินคือตัวการทำให้พ่อแม่ไม่อยู่ด้วย ทำให้บ้าน แ ต ก สาแหรกขาด ทำไมพ่อแม่ไม่เลี้ยงเราด้วยตัวเอง กลายเป็น ป ม ในใจ

ทำให้ไม่อย ากหาเงินไปซะงั้น เมื่อโตขึ้นถึงระดับหนึ่งแล้ว เธอคงรู้ดีว่าพ่อแม่ไม่ได้อย ากจากลูกไปไกลเลย แต่ที่ต้องทำงานเพราะค่าใช้จ่ายมันไม่พอ พวกท่านหวังดีต่อเธออย ากให้เข้าโรงเรียนดีๆ อย ากให้มีของใช้ที่ทัดเทียมเพื่อนจึงต้องทำงานหนักเพื่อให้ได้มันมา ดังนั้นเงินไม่ใช่ผู้ร้ ายของเรื่องนี้

แต่เงินช่วยทำให้ชีวิตเธอสบายขึ้นแต่แทนที่จะออกไปใช้แรงกายหา ถ้าทำได้ก็อาจทำงานจากที่บ้านแทน เท่านี้เธอก็ยังได้ใช้เวลาร่วมกับครอบครัวยังสร้างความสัมพันธ์อบอุ่นไว้ได้ โดยไม่รู้สึกห่างเหินกันค่ะ

6. เธอไม่มี ‘ความรู้ด้านการเงิน’ เลย

หากไม่ใช่คนที่เรียนทางการเงินมาโดยตรงการศึกษาไทยมักไม่มีวิชาที่เกี่ยวกับการออมเงิน การลงทุ น ให้นักศึกษาได้เรียน มีแต่ ค อร์ส เตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยทำงานต้องปรับตัวยังไง บุคลิกภาพของการทำงานบริษัทเป็นยังไง แต่ไม่สอนวิธีเก็บออมเงิน ต่อยอดเงิน การทำธุรกิจส่วนตัว

ซึ่งควรจะสอนเพราะในที่สุดงานบริษัทก็ไม่ได้จ้างเราตลอดไป สุดท้ายก็ต้องเกษียณ การเก็บและต่อยอดเงินต่างหากที่สำคัญกว่าหากรู้ช่องทางดีๆ เงินงอกเงยเยอะ จะเลือกเกษียณตัวเองตอน 40-50 แล้วไปใช้เวลาท่องเที่ยวรอบโลก หรือทำอะไรที่อย ากทำแทนก็ได้

7. เมื่อเกิดวิ ก ฤ ติ ด้านการเงิน ก็รู้สึกท้อ โทษตัวเองไม่หาวิธีแก้ปัญหานั้น

ข้อนี้เป็นอุปสรรค ต่อความร่ำรวยมากที่สุดแล้ว กับ Mindset ลบๆ ที่คิดโทษทุกอย่าง โทษตัวเองโดยไม่พัฒนาอะไรให้ก้าวหน้าขึ้น ท้อง่าย เจอวิ ก ฤ ติ ทางการเงินแค่นิดหน่อย เช่น ตกงาน ถูก โ ก ง เงิน ธุรกิจมีปัญหาขาดทุน ก็ซึม ห ด หู่ นอนเศร้าอยู่ในห้องเป็นเดือนๆ คิดแต่ว่าโชคร้ ายจังเลย

ทำไมเราโชคร้ ายอย่างนี้ แทนที่จะหาวิธีแก้ปัญหาให้ดีขึ้น คือมีช่วงช็ อ ก เสียใจบ้างก็ไม่เป็นไรค่ะ ปกติ แต่อย่านานถึงจุดนึงก็ต้อง ป าด น้ำตา แล้วลุกขึ้นมาแก้สถานการณ์ให้ดีขึ้น ถ้าตกงาน อาจจะเสียใจได้สัก 3 วันหรือ 1 อาทิตย์

หลังจากนั้นต้องเริ่มวิ่งเต้น อัปเดตเรซูเม่ สมัครงานไปพร้อมๆ กับพัฒนาตัวเองให้ดีขึ้นไปด้วยคิดซะว่าถือโอกาสเรียนรู้ทักษะเพิ่มหากถูกโ ก งเงิน นอกจากแจ้งความดำเนินคดีแล้ว ก็ควรกลับไปดูว่าตัวเองมีช่องโหว่ตรงจุดไหน ทำไมปล่อยให้ฝ่ายตรงข้ามโ ก งได้ และอย่าทำแบบเดิมซ้ำอีก เป็นต้น

หากเธอดิ้นรนให้ชีวิตยังไปต่อเสมอ มองทุกอย่างเป็นโอกาสเธอก็ไม่มีวันอดต าย ค่ะ

ขอขอบคุณ t o d a y.l i n e.m e

Load More Related Articles
Load More By wansuk
Load More In ข้อคิด

Check Also

เจ้านาย 8 แบบนี้ ที่ไม่ควรเป็นหัวหน้าคน

1.เจ้านาย ทรงอำนาจ เจ้านายประเภทนี้ จะดีแต่ออกคำสั่ง มักแสดงพฤติกรรม การใช้อำนาจขณะทำงานหร…