Home ข้อคิด 15 สาเหตุที่ทำ ให้คนเก่งๆ อยากลาออกจากงานกันหมด

15 สาเหตุที่ทำ ให้คนเก่งๆ อยากลาออกจากงานกันหมด

13 second read
0
0
31

การลาออกนั้น ถือเป็นเรื่องปกติ ของการทำงาน และเป็นสิทธิที่พนักงานทุกคนสามารถตัดสินใจ ได้ไม่ว่าจะอยู่ในตำแหน่ง เล็กหรือใหญ่เพียงใดก็ตาม แต่สิ่งที่เป็นปัญหาอาจจะมาจากเรื่อง ของเหตุผลในการลาออกที่บางครั้งก็ดูสมเหตุสมผลแต่บางครั้งก็ไม่เป็นเหตุผล ที่สมควรเอาเสียเลย

แถมบางทียังไม่เกี่ยวข้องกับเรื่อง การทำงานด้วยซ้ำ มาลองดูกันว่าสาเหตุหลักๆ ที่ทำให้พนักงานอย ากจะลาออกมีอะไรกันบ้าง

1.มีปัญหาเรื่องคน

ปัญหายอดฮิต ติดอันดับต้นๆ ของสาเหตุการลาออก ก็คือเรื่องคนนี่ล่ะ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาระหว่างเพื่อนร่วมงาน,ความขัดแย้ ง กับเจ้านาย, การมีปากเสียงกับลูกน้อง, หรือแม้กระทั่งทะเลาะกัน ด้วยเรื่องไม่เป็นเรื่องตลอดจนเรื่องที่ไม่เกี่ยวกับงานเลยแม้แต่น้อย

แต่เมื่อมีความขุ่นข้องหม องใจกันแน่นอนว่าย่อมมีผลกระทบต่อการทำงานไม่มากก็น้อย หรืออาจจะทำให้ไม่อย ากทำงานที่นี่ ต่อเลยเสียด้วยซ้ำ ปัญหาเรื่องคนอีกกรณีอาจจะไม่ได้เกิดการกระทบกระทั่งกัน โดยตรง

แต่อาจจะเกิดจากการนินทาว่าร้ า ย, โยนความผิด, หรือมีพฤติก ร ร มที่บั่ น ทอน สุ ขภาพจิต คนอื่น ก็เป็นสาเหตุที่ทำให้ไม่อย ากร่วมงานได้เช่นกัน

2.มีปัญหาสุขภ าพ

ปัญหาด้านสุขภ าพถือ เป็นอีกสาเหตุ อันดับต้นๆ ของการลาออก แล้วสาเหตุนี้ก็ดูจะสมเหตุสมผลที่สุด โดยเฉพาะหากมีใบรับรอง แ พ ทย์ หรือคำสั่ง แ พ ทย์ อย่างเป็นทางการ ก็ไม่มีเหตุผลใดที่บริษัทจะรั้งตัวไว้หรือตำหนิพนักงานคนนั้นปัญหาสุขภ าพบางเรื่องก็เป็นเรื่องของ โ ร ค ภั ย ไ ข้ เ จ็ บ โ ร คประจำตัว

หรือแม้แต่อุบัติเห ตุ ที่ไม่คาดฝันแต่ปัญหาสุขภ าพ บางอย่างก็มีสาเหตุ มาจากการทำงานตั้งแต่ขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ อย่างเช่นโ ร ค เ ค รี ย ด,ป วด เมื่อยกล้ามเนื้ อ, ประส าท ตา อั ก เ ส บ, หรือบางทีก็อาจเกิดอุบัติเห ตุ ขณะเวลาทำงานได้เหมือนกัน

3.งานเยอะจนเกินพอดี

ยุคนี้หลายบริษัท มักจะมีนโยบาย การจ้างงานด้วยอัตราเงินเดือนที่น้อย แต่ต้องจ้างให้คุ้มค่าที่สุด ด้วยการให้ทำงานมากมายหลายอย่างพร้อมกัน หรือรวมงานจากหลายๆ ตำแหน่งมาไว้ในตำแหน่งเดียวงานที่มากจนเกินพิกัด (Overload) นี้อาจเกิดตั้งแต่ตอนตกลงจ้างงานแต่พอทำจริงๆ แล้วทำไม่ไหว

หรืออาจเพิ่มเติมภายหลัง ที่ไม่ได้มีการตกลงกันมาก่อน แล้วทำให้ความรับผิดชอบเยอะ จนเกินไปหากพนักงานทำไม่ได้ รับไม่ไหว หรือรู้สึกโดนเอาเปรียบจนเกินไป ก็จะลาออกในที่สุด

4.ทำงานที่ไม่ชอบ ได้รับมอบหมายงานที่ไม่ถนัด

การได้ทำงานที่ชอบและถนัด จะทำให้พนักงานมีความสุขกับการทำงาน และอยู่กับองค์กรได้นานแต่การทนทำงาน ที่ไม่ชอบหรือได้รับมอบหมายงานที่ไม่ถนัด ก็อาจทำให้เกิดความอึดอัดหรือ ทำให้ทำงานออกมาไม่ดีได้เหมือนกันบางครั้งสถานการณ์เหล่านี้ไม่ใช่ความท้าทาย

สำหรับบางคนมันอาจกลาย เป็นความไม่มั่นใจและเป็นผลเสียเสียมากกว่า และก็เป็นสาเหตุให้ลาออกได้ในที่สุด

5.อัตราจ้างต่ำเกินไป และต้องการปรับเงินเดือนขึ้น

ปฎิเสธไม่ได้เลยว่าเงินเดือน มีผลต่อการทำงาน ของมนุษย์ออฟฟิศแทบทุกคนและเงินเดือน ก็เป็นอีกกลยุทธ์หนึ่งที่บริษัทใช้จูงใจ ให้พนักงานร่วมงานอยู่ได้ เพราะในโลกแห่งความเป็นจริงแล้ว เงินกลายเป็นปัจจัยหลักในการดำรงชีวิตในยุคปัจจุบันนี้ไปแล้ว

และทุกคนก็ย่อมอย ากได้เงินเดือนที่สูงไม่ต่างกันในระบบบริษัท อัตราเงินเดือนอาจหมายถึง ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน,ความรับผิดชอบ, หรือแม้แต่เรื่องของโบนัส ที่มักแป รผันตรงกับศักยภาพและความสามารถจึงไม่ผิดเลยที่ว่ามนุษย์เงือนเดือนทุกคนจะอย ากได้เงินเพิ่มอันเนื่องมาจากเหตุผลด้านอื่นๆ ด้วย

พนักงานหลายคนย้ายบริษัท บ่อยมากแต่นั่นไม่ใช่ เพราะเขาทำงานแ ย่ตรงกันข้ามเขาทำงานเก่งจนได้รับข้อเสนอ ในเรื่องอัตราจ้างที่สูงขึ้นเรื่อยๆ จากบริษัทต่างๆ ที่ต้องการซื้อตัว และนั่นก็เป็นกลยุทธ์ หนึ่งที่พนักงานในยุคนี้ใช้การย้ายงานเพื่อเพิ่มฐานเงินเดือนของตัวเองให้สูงขึ้นเรื่อยๆ

และทำให้เกิด Job Hopper มากขึ้นเรื่อยๆ เป็นทั้งข้อดีและ ข้อเสียของโลกธุรกิจไปพร้อมๆ กัน

6.สวัสดิการไม่ดีพอ

องค์กรที่ดีมักจะดูแล ใส่ใจเรื่องสวัสดิการ ของพนักงานได้ดีตามไปด้วย ซึ่งนี่ถือเป็นอีกปัจจัยหนึ่ง ที่ทำให้พนักงาน อยู่ในองค์กรได้ยืนย าวโดยเฉพาะสวัสดิการเรื่องสุขภ าพและการรักษ า พย าบาล ที่พนักงานหลายคนเลือกทำงานกับองค์กรที่ดูแลเรื่องนี้อย่างดี

หรือแม้แต่สวัสดิการย่อยๆ อย่างค่าเดินทาง,ค่าล่วงเวลา, หรือแม้แต่วันหยุด หากองค์กรให้อย่างไม่คุ้มค่า เอาเปรียบพนักงานก็ย่อมทำให้พนักงานอย ากลาออกไปยังบริษัทที่ให้สวัสดิการที่ดีและคุ้มค่ากว่า

7.ปัญหาโครงสร้างบริษัท

ไม่ใช่แค่เรื่องของคนเท่านั้น แต่ตัวองค์กรเองก็มีผลต่อ การลาออกได้เหมือนกันบางบริษัท มีโครงสร้างงานที่ใหญ่มาก มีตำแหน่งที่เยอะมาก มีทิศทางความก้าวหน้าในอาชีพ การงานที่ชัดเจนก็อาจเป็นแรงจูงใจที่ดีที่ทำให้พนักงานอย ากทำงานในองค์กรนี้ไประยะย าว

แต่ในทางตรงกันข้ามบริษัท ที่ไม่ได้มีการวางแผน ผังงานที่ชัดเจนไม่มีแนวทาง Career Path ของแต่ละตำแหน่งที่เห็นได้ชัด หรือเป็นบริษัทขนาดเล็ก ที่เห็นได้ชัดว่าไม่มี Career Pathแน่นอนก็อาจทำให้พนักงานไม่เห็นอนาคตความก้าวหน้าของตัวเอง

ไม่ตอบโจทย์ความสำเร็จในชีวิตซึ่งก็อาจทำให้พนักงานลาออกไปหาองค์กรที่มั่นคงกว่า มีแนวโน้มก้าวหน้ากว่าก็เป็นได้

8.เจ้านายบริหารงานไม่เก่ง

ถึงแม้ว่าพนักงาน คนนั้นจะได้ ทำงานที่ชอบ ตำแหน่งที่ใช่ ตัวงานท้าทาย เข้าทางไปเสีย ทุกเรื่องแต่อาจกลับตกม้าต า ย ด้วยเรื่องง่ายๆ ที่ดูจะเป็นเรื่องตลกร้ า ย ก็คือการได้เจ้านาย ที่ไม่เอาไหนบริหารงานไม่เก่ง ยิ่งถ้ามีการประเมินผลงานเป็นทีม เป็นแผนกทำดีแทบต า ย

อาจได้ผลงานรวมที่แ ย่ เพราะเจ้านายห่ วย ก็อาจทำให้พนักงานคนนั้นรู้สึกแ ย่ และไม่ได้รับความยุติธรรมก็เป็นได้และ ยิ่งถ้าบริษัทไม่สามารถเห็นปัญหา ในจุดนี้ได้ พนักงานที่มีความสามารถส่วนใหญ่ก็มักตัดสินใจย้ายไปทำงานใหม่ทันที

9.องค์กรไม่ได้ใช้ความสามารถของพนักงานอย่างมีประสิทธิภาพ

คนที่ชอบทำงาน ทำงานดี ทำงานก่งและ ทุ่มเทในการทำงาน ไม่ว่าจะอยู่องค์กรใดก็ตามพวกเขาย่อมคาดหวัง ว่าจะได้ทำงานที่ตนเองเลือกอย่างเต็มความสามารถเพื่อเป็นการพัฒนาตัวเองตลอดจนสร้างก้าวหน้าในอาชีพด้วยหากพนักงานไม่ได้ใช้ความสามารถ อย่างเต็มที่อย่างที่คาดหวังไว้

อาจจะทำให้เบื่อหน่าย หรือรู้สึกว่าไม่ได้พัฒนาตัวเอง พนักงานในกลุ่มนี้ ก็มักจะไม่ทนอยู่ และมักจะหาองค์กรใหม่ที่มีงานที่ท้าทายและสนุกกว่า

10.องค์กรไม่เห็นศักยภาพและไม่ส่งเสริมพนักงานให้ก้าวหน้า

บ่อยครั้งที่องค์กร ได้พนักงานเก่งๆ มาอยู่ในมือหรือ พนักงานพัฒนาตัวเองจนมีศักยภาพ ขึ้นมาแต่บริษัทไม่เห็นตรงส่วนนี้หรือ เห็นแล้วเพิกเฉย ละเลย ไม่สนับสนุนให้เกิดความก้าวหน้าพนักงาน ก็อาจไม่อย ากร่วมงานกับองค์กรเช่นกัน

กรณีนี้อาจเกิดจากการไม่มอบหมาย งานที่ท้าทายให้ไม่ไว้ใจให้ทำงานที่อย ากทำ ไม่เลื่อนตำแหน่ง ไม่ปรับขึ้นเงินเดือน หรือแม้แต่ไม่พิจาณาโบนัส ให้ตามความเหมาะสม สาเหตุเหล่านี้ก็อาจทำให้พนักงานอย ากเปลี่ยนองค์กรที่เห็นศักยภาพของตนมากกว่าเช่นกัน

11.ชีวิตเสียสมดุล

บางคน ให้ความสำคัญ กับเรื่อง Work-Life Balance มากๆ โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ที่รักในการสร้างสมดุลชีวิต ให้พอดีไม่ทำงานหนักจนทำให้สุขภ าพแ ย่ ไม่บ้างานจนทำให้ชีวิตพัง ไม่ขี้เกียจทำงานจนทำให้เลี้ยงชีพไม่รอดไม่ทำงานที่ทำให้ชีวิตมีความทุกข์

หรือไม่รับงานที่ทำให้วิถีชีวิตของตัวเองเปลี่ยนแปลง ไปในทางที่แ ย่ลงอย่างเช่น งานที่ต้องเดินทางตลอดเวลา ทำให้ไม่มีเวลาอยู่กับครอบครัว, งานที่ต้องทำในเวลากลางคืนขัดกับวิถีชีวิตปกติทั่วไป, งานที่ทำให้ไม่มีเวลาพักผ่อนหรือออกกำลังกาย,งานที่ต้องทำวันเส าร์-อาทิตย์เพิ่มเติม,

หรือแม้แต่ออฟฟิศ ที่อยู่ไกลจนทำให้มีปัญหาเรื่อง การเดินทางหากพนักงาน สร้างสมดุลให้กับชีวิตตัวเองไม่ได้ วิถีชีวิตทุกอย่างจะกระทบไปหมด และนั่นก็เป็นสาเหตุให้ต้องยื่นใบลาออกได้เหมือนกัน

12.ย้ายถิ่นฐาน

อีกเหตุผลสำคัญหนึ่ง ของการลาออก ก็คือการย้ายถิ่นฐานของพนักงาน ตั้งแต่ย้ายบ้านไปอยู่อีกเขตที่ทำให้เดินทางลำบากขึ้น ครอบครัวต้องย้ายไปอยู่ต่างจังหวัด

หรือ แม้แต่ต้องย้ายไปทำงาน ต่างประเทศก็เป็นเหตุสำคัญที่อาจไม่เกี่ยวกับเรื่องงานโดยตรง แต่ทำให้พนักงานตัดสินใจลาออกได้

13.กลับไปช่วยธุรกิจของครอบครัว เปิดกิจการเป็นของตัวเอง

อีกเหตุผลคลาสสิก ทุกยุคทุกสมัยก็ คือการถูกเรียกให้กลับไปช่วยบริหารงานธุรกิจของครอบครัว ซึ่งสิ่งเหล่านี้มักเป็นเหตุผลส่วนตัวและอาจเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ สำหรับใครบางคนหรือบางคนต้องการลาออกก็เพื่อที่จะไปทำธุรกิจส่วนตัวเริ่มต้นกิจการของตัวเองโดยเฉพาะหลัง

ช่วงได้รับเงินก้อนจากโบนัส พนักงานอาจอย ากเริ่มต้นธุรกิจใหม่ ของตนหรือใช้ประสบการณ์จากการทำงานไปต่อยอดธุรกิจที่ตนเห็นลู่ทางประสบความสำเร็จ

14.เบื่อหน่าย อิ่มตัว งานไม่ท้าทายอีกต่อไป

หากพนักงาน รู้สึกเบื่อหน่าย สิ้นหวังในการทำงาน ประเภทที่ว่าตื่นลืมตามาทุกเช้าแล้วรู้สึกว่าไม่มีอะไร น่าสนใจไม่อย ากไปทำงาน เบื่อออฟฟิศ เบื่อความจำเจ เบื่อพฤติก ร ร ม ซ้ำเดิมก็เป็นเหตุให้อย ากลาออกได้ หรือบางทีก็เป็นเหตุผลง่ายๆ สุดแสนจะคลาสสิก

แต่ทว่าดูเกือบจะไร้เหตุผลอย่าง “ถึงจุดอิ่มตัว” ซึ่งพนักงานบางคนอาจทำงานนั้นมานานจนเกิด ความเบื่อหน่าย การลองเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมเดิมๆ ไปสู่สิ่งแวดล้อมใหม่ๆ หรือแม้แต่การเปลี่ยนสายงานใหม่ไปเลย ก็อาจเป็นทางออกที่ดีในกรณีนี้เช่นกัน

15.เหตุผลที่ไร้เหตุผล

สุดท้ายแล้วบางเหตุผล ของการลาออก ก็เป็นเรื่องที่ไร้เหตุผลสิ้นดี อย่างเช่น อกหักกับคนในออฟฟิศ,ย้ายตามคนรักไปอีกบริษัท, หนีหนี้, หรือแม้แต่อย ากออกเดินทางท่องโลก เพื่อหาประสบการณ์ใหม่ๆ สิ่งเหล่านี้บางทีก็ดูไร้เหตุผลแต่บางทีก็ดูเป็น เหตุผลสำคัญ

และแฝงไปด้วยความตั้งใจ อันแรงกล้าอยู่ฝ่ายบุคคลอาจต้องมองเหตุผล และให้ดีว่าการตัดสินใจลาออกของพนักงานคนนั้น เป็นเรื่องที่ควรหรือไม่ควร เพื่อจะได้เลือกจบกันอย่างสวยงาม หรือว่าลาจากกันด้วยความโกรธเคืองจนมองหน้าไม่ติด

ขอขอบคุณ h r n o t e.a s i a

Load More Related Articles
Load More By wansuk
Load More In ข้อคิด

Check Also

เจ้านาย 8 แบบนี้ ที่ไม่ควรเป็นหัวหน้าคน

1.เจ้านาย ทรงอำนาจ เจ้านายประเภทนี้ จะดีแต่ออกคำสั่ง มักแสดงพฤติกรรม การใช้อำนาจขณะทำงานหร…