Home ข้อคิด เป็นแค่ลูกจ้าง แต่ฝันอยากทำธุรกิจเป็นของตัวเอง..จะต้องเริ่มจากอะไร

เป็นแค่ลูกจ้าง แต่ฝันอยากทำธุรกิจเป็นของตัวเอง..จะต้องเริ่มจากอะไร

18 second read
0
0
197

เชื่อว่าหลายๆ คน อาจจะ เบื่องานประจำที่กำลังอยู่ อ ย า ก จะลาออกไปทำธุรกิจของตัวเอง ซึ่งก็มีอยู่ 2 ขั้นตอนทีคนส่วนใหญ่ทำกัน คือ ลาออกงานเลยแล้วไปสร้างธุรกิจของตัวเอง และยังไม่ลาออกจากงานแต่วางแผนไปเรื่อยๆ ในการสร้างธุรกิจให้เป็นรูปเป็นร่าง แล้วค่อยลาออก

โดยอันหลังจะเป็นหลักประกันความ เ สี่ ย ง ได้ดีกว่า เพราะยังมีเงินประจำอยู่ วันนี้เราจะนำเสนอ 12 ขั้นตอน ก้าวจากการเป็นลูกจ้างสู่ การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจ เพื่อเป็นแนวทางให้กับบรรดาพนักงานประจำ ที่ต้องการ อ ย า ก เป็นนายตัวเองหรือเจ้าของธุรกิจในอนาคตครับ

1. กำหนดสิ่งที่ อ ย า ก ทำ

เมื่อเรา อ ย า ก เป็นเจ้าของธุรกิจ เราต้องค้นหาหรือ ถามตัวเองว่า อ ย า ก ทำอะไร หรือชอบอะไรเป็นพิเศษ

ยิ่งถ้าเรารักในสิ่งที่ อ ย า ก ทำด้วยแล้ว ก็จะทำให้ธุรกิจที่จะทำประสบความสำเร็จ ได้ง่ายขึ้น เพราะเราจะตั้งใจทำอย่างเต็มความสามารถ

2. มองโอกาสของธุรกิจ

ถือว่าสำคัญมาก แม้ว่าเราชอบหรือ อ ย า ก จะทำอะไร แต่ถ้าทำไปแล้วไม่มีลูกค้า ไม่มีคนซื้อก็ไม่คุ้มค่ากับการลงทุน ดังนั้นการที่คิดจะทำธุรกิจอะไร ต้องวิเคราะห์ตลาด

และพฤติกรร ม ผู้บริโภคด้วย ว่าลงทุนวันนี้ แล้วพรุ่งนี้ลูกค้ายังจะซื้อเราอีกไหม หรือธุรกิจที่เราชอบในวันนี้ อีก 1- 2 ปีข้างหน้า ยังจะได้รับความนิยมอยู่หรือไม่ เราต้องมองโอกาสของธุรกิจด้วย

3. สอบถามลูกค้าเพื่อหาไอเดีย

เชื่อมโยงกับข้อ 2 เพราะก่อนจะลงทุน ทำธุรกิจอะไร ให้ประสบความสำเร็จ อ ย า ก แรกต้องดูเทรนด์ตลาด และความต้องการ ของผู้บริโภคด้วย อาจทำแบบสอบถามหรือพูดคุยกับลูกค้าในพื้นที่นั้นๆ โดยตรงหรือสอบถามทางช่องทางออนไลน์ก็ได้ว่าลูกค้าชอบสินค้า

หรือบริการที่เรา อ ย า ก จะทำหรือไม่ เพื่อเป็นการแนวร่วมเดียวกัน ถ้าสอบถามหลายๆ คนบอกว่าไม่ชอบเรา ก็ยังสามารถปรับเปลี่ยน ธุรกิจก่อนที่จะลงทุนจริงๆ จังๆ ได้ทันเวลา

4. วางแผนการตลาดและแผนธุรกิจ

การตลาด ที่ได้รับความนิยม ในวันนี้ คือการใช้ช่องทางสื่อสารผ่านทางออนไลน์ โดยเฉพาะ S o c i a l M e d i a ต่างๆ เพราะสาสามารถเจ้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้ดีที่สุด

ขณะเดียวกันเราต้องจัดทำแผนธุรกิจ ระบุรายละเอียดต่างๆ ว่าเป้าหมายของธุรกิจคืออะไร เราต้องทำงานอะไรบ้าง ให้ประสบความสำเร็จแผนธุรกิจจะครอบคลุมโครงสร้างส่วนต่างๆ ของธุรกิจ

5. เริ่มต้นจากธุรกิจขนาดเล็กๆ

เป็นการทดลอง การทำธุรกิจว่าจะไปได้ หรือไม่ได้ เหมือนเป็นการลองผิดลองถูก ถ้าเจ๊งก็ไม่ต้องเสียเงิน งบประมาณจำนวนมาก

แต่ถ้าไปรอดหรือได้รับการตอบรับที่ดีจากตลาดและลูกค้า ก็ค่อยๆ ขยับขย ายธุรกิจให้มีขนาดใหญ่ขึ้นที่สำคัญเหมาะสำหรับช่วง ที่เรายังทำงานประจำอยู่ ยังปลีกตัวไปทำเต็มตัวไม่ได้ ต้องทำขนาดเล็กๆ ไปก่อน

6. ประเมินธุรกิจ และปรับเปลี่ยน

หลังจาก ที่เราได้ทดลองเริ่มต้น ธุรกิจไปแล้ว พอผ่านไปได้ประมาณเดือนกว่าๆ ก็ลองมาวิเคราะห์ธุรกิจดูว่าผลกาตอบรับ จากตลาดและลูกค้าเป็นอย่างไร ยอดขายเพิ่มขึ้นทุกวันหรือไม่หรือคงที่หรือยอดขายตก

เมื่อเราเห็นภาพก็จะสามารถนำไป ปรับปรุงแก้ไขได้ทันท่วงที โดยนำเอาข้อเสนอแนะจากลูกค้ามาปรับปรุงให้ตอบโจทย์ลูกค้า จะดีที่สุดครับ

7. รวบรวมทีมงาน

มาถึงตรงนี้ ถ้าความคิด ในการทำธุรกิจของเรา จะเป็นไปได้มากที่สุดผลการตอบรับจากช่วงทดลองทำการตลาด ได้รับผลการตอบรับดี ต่อไปเราต้องคิดว่าถ้าเราออกจากงาน

เพื่อมาทำธุรกิจของเราเต็มเวลา เราจำเป็นต้องทีมงาน เพื่อการขย ายธุรกิจให้มีขนาดใหญ่ขึ้น กว่าเดิม ไม่ว่าจะเป็นทีมงานการตาด การเงิน การผลิต การบริการลูกค้า เป็นต้น

8. การหาแหล่งเงินทุน

ถ้าเราคิดจะทำธุรกิจขาดเล็ก เราอาจใช้เงินเก็บจากการทำงานประจำ มาใช้จ่ายช่วง 1- 2 เดือนแรกก่อนก็ได้ ถ้าหากมีเงินเก็บจำนวนมาก แต่ถ้า อ ย า ก ทำธุรกิจที่มันใหญ่ขึ้น

เพราะมีตลาดและลูกค้ารองรับอยู่แล้ว ก็อาจจำเป็นต้องหาแหล่งเงิน ทุนที่ปลอดภัย ไม่ว่าจะเป็นการขอสินเชื่อ จากสถาบันการเงินต่างๆ รวมถึงแหล่งเงินทุนจากญาติพี่น้อง

9. วางโครงสร้างบริษัท

ในเวลาเดียวกัน ถ้าเราจะเดินหน้าธุรกิจจริงๆ ต้องมองด้วยว่าจะจัดตั้งบริษัท ในรูปแบบไหน เช่นบริษัทคนเดียว หรือหุ้นส่วน หรือจัดตั้งเป็นห้างหุ้นส่วน นิติบุคคล เป็นต้น เพื่อที่จะได้รับการดูแลตามกฎหม าย อย่างถูกต้อง

10. ลาออกจากงานประจำ

เมื่อธุรกิจพร้อมแล้ว ให้ลาออก จากงานประจำวัน เพื่อทำงานของตัวเองอย่างเต็มที่ แต่อย่าลืมว่าในการออกมาทำธุรกิจของตัวเองนั้น ในวันข้างหน้าเราอาจจะต้องได้พบเจอกับหัวหน้าเก่า เจ้านายเก่าหรือเพื่อนร่วมงานเก่าๆ

ดังนั้น ก่อนการลาออกต้องบอกเจ้านาย และเพื่อนร่วมงานให้ดี ไม่บาดหมางใจกัน เพราะอนาคตธุรกิจอาจต้องพึ่งพาช่วยเหลือกัน

11. ตั้งงบประมาณในการทำงาน

ช่วงเวลาที่เราทำงานประจำ อาจจะไม่สามารถจัดสรร เรื่องงบประมาณในการทำธุรกิจได้อย่างเต็มที่ แต่เมื่อเราออกจากงานประจำมาบริหารกิจการของเราอย่างเต็มที่แล้ว

อ ย า ก แรกเราต้องบริหารงบประมาณในการทำธุรกิจแยกออก เป็นแต่ละส่วน ไม่ว่าจะเป็นการผลิต การตลาด การจำหน่าย การขนส่ง รวมเงินทุนหมุนเวียนในบริษัท เป็นต้น

12. ปรับขนาดธุรกิจตามแผนการตลาด

สุดท้ายคือ การทำธุรกิจ ให้เป็นไปตามแผนงานหรือ แผนธุรกิจที่เราได้เขียนเอาไว้ ตั้งแต่เริ่มต้น ถ้าออกจากงานแล้วธุรกิจไปได้สวย

แต่ตอนแรกแผนธุรกิจเขียนเล็กๆ เราก็ต้องมาปรับขนาด ธุรกิจให้เท่ากับ แผนการตลาดในปัจจุบัน

เช่น ถ้าสินค้าเป็นที่ต้องการของตลาด ต่างประเทศ เราก็ต้องปรับขนาดธุรกิจให้ใหญ่ขึ้นเพื่อรองรับ ตลาดต่างประเทศ เช่น อาจต้องเพิ่มทีมงานด้านต่างประเทศโดยเฉพาะ รวมถึงเพิ่มกำลังการผลิตที่มากขึ้น ด้วยทั้งหมดเป็นขั้นตอน ในการก้าวไปสู่ในการเป็นเจ้าของกิจการ หรือการเป็นนายตัวเอง

ในขณะที่เรายังเป็นลูกจ้างอยู่ ซึ่งถือเป็นแนวทางที่คนส่วนใหญ่ นิยมใช้กันมากเพราะการวางแผนเป็นเจ้าของธุรกิจ ตั้งแต่งเรายังทำงานประจำ จะมีความ เ สี่ ย ง น้อยกว่าการลาออกจากงาน มาเริ่มต้นธุรกิจเลย อย่างน้อยเราก็มีเงินทุนหมุนเวียนในขณะที่เราเริ่มต้นธุรกิจเล็กๆ อยู่

ขอขอบคุณ t h a i s m e s c e n t e r

Load More Related Articles
Load More By wansuk
Load More In ข้อคิด

Check Also

เจ้านาย 8 แบบนี้ ที่ไม่ควรเป็นหัวหน้าคน

1.เจ้านาย ทรงอำนาจ เจ้านายประเภทนี้ จะดีแต่ออกคำสั่ง มักแสดงพฤติกรรม การใช้อำนาจขณะทำงานหร…